การศึกษา:ปริญญาตรี Bachelor of Business Administration(Bangkok University)
ปริญญาโท Master of Business Administration
ตำแหน่งงานที่ผ่านมา:เจ้าหน้าที่บริหาร Asst. Vice President บมจ. ธนาคารกรุงเทพ สำนักงานใหญ่
รับผิดชอบงาน-สำนักธุรกิจส่งออก-นำเข้า บมจ.ธนาคารกรุงเทพ สำนักงานใหญ่
กำกับดูแล –ธุรกิจส่งออกและนำเข้าสำนักงานใหญ่
งานให้คำปรึกษาธุรกิจส่งออกและนำเข้า (Trade Advisory)
ตำแหน่งงานพิเศษ:ผู้ประนีประนอม
ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง
ศาลแพ่งกรุงเทพใต้
ศาลแพ่งพระโขนง
ศาลอาญาพระโขนง
ประสบการณ์การบรรยายมากกว่า 40ปี
เคยเป็นผู้บรรยายพิเศษ-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (หลักสูตรปริญญาโท คณะนิติศาสตร์)
-สถาบันการบินพลเรือน (หลักสูตรปริญญาโท)
-มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
-มหาวิทยาลัยศรีปทุม
-สถาบันเทคโนโลยี่ไทย-ญี่ปุ่น
เคยเป็นวิทยากรพิเศษ-บมจ. ธนาคารกรุงเทพ ได้รับรางวัลวิทยากรดีเด่นด้านความสามารถในการสอนดีเด่น
-สถาบันการศึกษาสมาคมธนาคารไทย
-สถาบันบริการวิชาการมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
-กรมศุลกากร
-กรมสรรพากร
-สถาบันฝึกอบรมการค้าระหว่างประเทศ กรมส่งเสริมการส่งออก
-สถาบันฝึกอบรมพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME)
-สภาผู้ขนส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย
ปัจจุบัน:เป็นวิทยากรผู้บรรยายหลักสูตรการชำระเงิน และการส่งมอบสินค้าระหว่างประเทศ
-สถาบันฝึกอบรม สมาคมชิปปิ้งแห่งประเทศไทย
-สมาคมตัวแทนออกของรับอนุญาตไทย
-สมาคมผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (TIFFA)
เป็นวิทยากรบรรยายในงานสัมมนาทั้งแบบ Public แบบ inhouse และ online ให้กับภาครัฐ และภาคเอกชนที่ให้ความสนใจ ด้วยความรู้และประสบการณ์มากกว่า 40 ปีในการบริหารและการปฏิบัติงาน รวมทั้งการให้คำปรึกษาด้านธุรกิจส่งออกและนำเข้า จะสามารถนำเสนอแนวคิดที่ให้ผู้รับฟังสามารถเข้าใจได้อย่างลึกซึ้งและสามารถนำไปปรับใช้ให้ประสบความสำเร็จได้จริง
หัวข้อวิชาที่บรรยาย:
Øความรู้ด้านการค้าระหว่างประเทศ (Import-Export Operation)
Øความรู้เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
-ความหมายของการประกอบธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
-การให้บริการด้านการค้าระหว่างประเทศของธนาคารพาณิชย์
-ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในการค้าระหว่างประเทศ
Øวิธีการชำระเงินในการค้าระหว่างประเทศ (Methods of Payment)
-การชำระเงินค่าสินค้าล่วงหน้า Advance of Payment หรือ Pre-Payment by T/T
-การชำระเงินแบบ Open Account หรือ Post-Payment by T/T
-การชำระเงิน/การเรียกเก็บเงินผ่านธนาคารพาณิชย์ ด้วยตั๋วเรียกเก็บแบบ D/A, D/P (Bills for Collection) และกฎระเบียบในการส่งเอกสารไปเรียกเก็บของสภาหอการค้านานาชาติ (Uniform Rules for Collection No. 522)
-การชำระเงินภายใต้ Letter of Credit และกฎระเบียบในการเรียกเก็บเงินตามเอกสารภายใต้ Letter of Credit ออกโดยสภาหอการค้านานาชาติ (Uniform Custom and Practice for Documents Credit No.600 –UCP.600)
Øประเภท และชนิดต่าง ๆ ของ Letter of Credit เพื่อการชำระเงินในการค้าระหว่างประเทศ
Øความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอันเนื่องจากการชำระเงินแต่ละประเภท
-Advance payment-Open account-Bills for Collection-Letter of Credit
Øความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
-ความเสี่ยงทั่วไป -ความเสี่ยงผู้นำเข้า -ความเสี่ยงผู้ส่งออก
Øปัจจัยด้านความเสี่ยงที่ธนาคารใช้พิจารณารับซื้อตั๋วสินค้าออก
-Country Risk -Bank Risk -Exporter Risk -Documentary Risk
Øข้อตกลงการส่งมอบสินค้าระหว่างประเทศ International Commercial Terms
Ø(Incoterms® 2020) ตามเกณฑ์ของสภาหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce)
Øการจัดทำเอกสารการค้าระหว่างประเทศ(Shipping Documents) ภายใต้กฎเกณฑ์ข้อบังคับของสภาหอการค้านานาชาติ (International Chamber of Commerce) และข้อกำหนดของ Uniform Customs and Practice for Documentary Credit -UCP.600
-เอกสารทางการเงิน (Financial Documents) Bills of Exchange, Promissory Note
-เอกสารทางการค้า (Shipping Documents)
Øการพิจารณาตีความในหนังสือ Letter of Credit ที่ได้รับจากต่างประเทศ
-การวิเคราะห์สาระสำคัญ คำสั่งของเครดิต และข้อควรระวัง
-กฎระเบียบและวิธีปฏิบัติตามข้อกำหนดของ Uniform Customs and Practice for Documentary Credit No.600
Øสินเชื่อเพื่อการส่งสินค้าออก (Export Financing)
-Packing Credit (Pre-Shipment, Post-Shipment)
-Export P/N under Open Account
-การประกันการส่งออก (Export Credit Insurance)
-การขอชดเชยอากรการส่งออก
Øสินเชื่อเพื่อการสั่งสินค้าเข้า (Import Financing)
-การทำ Shipping Guarantee และ Delivery Order (S/G, D/O)
-การขอทำ Trust Receipt
-Import P/N under Open Account
Øการซื้อ-ขายอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Forward Contract)
-บริการของธนาคารพาณิชย์ และระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทย
-เครื่องมือทางการเงินในการบริหารความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยน
-ผู้ประกอบการนำเข้า/ส่งออก สามารถปิดความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนได้เมื่อไหร่
-การบริหารสภาพคล่องสกุลเงินตราต่างประเทศ
-ประเภทสัญญาซื้อ/ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract)
-ขั้นตอนการขอทำ Forward Contract
-การต่ออายุสัญญา Forward Contractและเบี้ยปรับที่เกิดขึ้น
-การยกเลิกสัญญา Forward Contractและเบี้ยปรับที่เกิดขึ้น
Øการทำธุรกรรมกับประเทศที่มีความเสี่ยงสูง (High Risks Countries)และความเสี่ยงที่เกิดขึ้น
-ธุรกรรมที่เกิดขึ้นตามพระราชบัญญัติการฟอกเงิน และการจัดทำรายงาน ปปง.
-การรายงานธุรกรรมเงินตราต่างประเทศที่เกิดขึ้นจากการส่งออก/นำเข้า ตามพระราชบัญญัติปริวรรตเงินตรา และ พระราชบัญญัติการฟอกเงิน ของธนาคารแห่งประเทศไทย และสำนักงาน ปปง.