วิทยากร | จำนวนวัน | วันที่สัมมนา | ราคา/ท่าน | หมายเหตุ |
---|
หลักสูตร เจาะลึก 30 ประเด็นสำคัญ ของกฎหมายแรงงาน
ที่ผู้บริหาร ฝ่ายบุคคลต้องเข้าใจ ทำได้จริง
ภาคปฏิบัติจริง
ผู้ที่สมควรเข้ารับการอบรมหลักสูตรนี้
• นายจ้าง เจ้าของกิจการ รู้เอง ทำเอง ป้องกันตัวเองได้
• ฝ่ายบุคคล เพื่อพัฒนาตนเองให้เป็นมืออาชีพ
ประโยชน์ที่จะได้รับจากการสัมมนาหลักสูตรนี้
• เข้าใจเจตนารมณ์ที่แท้จริงของกฎหมายที่สำคัญ
• ได้ตัวอย่างการปฏิบัติตามกฎหมายที่ถูกต้องไปใช้งานได้เลย
• สามารถสอบถาม ปรึกษาวิทยากรเพื่อแก้ปัญหาได้โดยตรง
เนื้อหาหลักการสัมมนา
หมวดที่ 1 การจ้างงาน
1. จะทดลองงานพนักงานใหม่ได้กี่วันกันแน่ เอา 119 วันมาจากไหน ?
2. วิธีการบอกกล่าวล่วงหน้าที่ถูกกฎหมายต้องบอก ต้องทำย่างไร ?
3. ไม่ผ่านทดลองงาน ไม่อยากบอกล่วงหน้า ไม่อยากจ่ายเงิน ไม่อยากให้อยู่ต่อ จะทำอย่างไร ?
หมวดที่ 2 : การทำสัญญาจ้าง
4. จุดอ่อน 10 จุดของสัญญาจ้าง ที่นายจ้างแพ้คดีเป็นประจำ มีอะไรบ้าง จะป้องกัน แก้ไขอย่างไร ?
5. สัญญาจ้างแบบมีกำหนดเวลาแน่นอน กับ สัญญาจ้างประจำต่างกันตรงไหน ?
6. สัญญาจ้างแบบมีกำหนดเวลาแน่นอน จะเลิกจ้างก่อนครบสัญญาต้องทำอย่างไร จึงจะไม่ถูกฟ้อง ?
7. พนักงานลาออก ไม่ลา ไม่แจ้ง หรือ แล้วอยู่ไม่ครบ 30 วันจะฟ้องเรียกค่าเสียหายอย่างไร ?
หมวดที่ 3 : ค่าจ้าง สวัสดิการ ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานวันหยุด
8. ตัวอย่างเงินที่ศาลตัดสินว่าเป็นค่าจ้าง ที่นายจ้างแพ้คดีเสียเงินนับสิบล้าน มีอะไรบ้าง ?
9. ต้องนำค่าตำแหน่ง ค่าฝีมือ ค่าเช่าบ้าน ค่าอาหาร ไปรวมคิดค่าล่วงเวลา คิดค่าชดเชย ส่งเงินสมทบประกันสังคมด้วยหรือไม่ ?
10. วิธีการป้องกันสวัสดิการ ไม่ให้เป็นค่าจ้าง ไม่ถูกฟ้องย้อนหลังต้องทำอย่างไร ?
หมวดที่ 4 : การจัดการวันหยุด วันลา
11. วันหยุด 3 ประเภท วันลา 6 ประเภท มีวันอะไรบ้าง ?
12. หลักการจัดพักร้อน ให้ถูกต้องตามกฎหมายต้องจัดอย่างไร ?
13. ลูกจ้างลาออกเอง / ถูกไล่ออก / เลิกจ้างแบบจ่ายเงิน จะจ่ายเงินค่าพักร้อน อย่างไร ?
14. การลากิจ มีหลักเกณฑ์อย่างไร ?
15. ลาป่วย 1 – 2 วันบ่อยมาก ถ้าจะขอใบรับรองแพทย์ จะอ้างกฎหมายอะไร ?
16. การจัดการกับคนป่วยไม่จริง จะทำอย่างไร ?
หมวดที่ 5 : การย้ายตำแหน่ง ย้ายสถานที่ทำงาน
17. การย้ายเป็นธรรม ไม่เป็นธรรมดูตรงไหน ?
18. ย้ายสถานประกอบการไปใกล้ ๆ หรือ ไปไกลแค่ไหน พนักงานจึงมีสิทธิไม่ไป ดูตรงไหน ?
หมวดที่ 6 : วินัยและการลงโทษทางวินัย
19. การลงโทษทางวินัย ที่ดีและเป็นธรรม ต้องทำอย่างไร ?
20. การพักงานเพื่อการสอบสวน กับ พักงานเพื่อการลงโทษ ต้องจ่ายค่าจ้างหรือไม่ ต่างกันอย่างไร ?
21. หนังสือพักงานและมีลักษณะหนังสือเตือนไปในตัว จะต้องเขียนอย่างไร ?
22. พนักงานที่ผลงานไม่ดี จะเลิกจ้างให้เป็นธรรม ต้องทำอย่างไร ?
23. หลักการเลิกจ้างเป็นธรรม ไม่เป็นธรรม ดูตรงไหน ต้องทำอย่างไร ?
24. ความผิดตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 583 มีอะไรบ้าง ?
25. ถ้าถูกพนักงานตรวจแรงงาน สั่งให้จ่ายเงินแต่ไม่อยากจ่าย จะทำอย่างไร ?
26. ตกลงกันได้แล้ว จ่ายเงินกันแล้ว ไม่อยากถูกฟ้องทีหลัง จะทำอย่างไร ?
27. ตัวอย่างการเขียนหนังสือเตือน หนังสือเลิกจ้าง ที่มีผลตามกฎหมายต้องเขียนอย่างไร ?
บทที่ 7 : การเกษียณอายุ
28. การเกษียณกฎหมายกำหนดไว้ตรงไหน ว่าอย่างไร ?
29. ครบเกษียณแล้ว จะจ้างต่อ ต้องจ่ายค่าชดเชยก่อน หรือ ขยายไปรวมจ่ายสุดท้ายรั้งเดียว ??
30. จะจ้างต่ออย่างไร จึงไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย ?
โดย อาจารย์สิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา
วิทยากร นักเขียน ที่ปรึกษา
การบริหารงานบุคคลและกฎหมายแรงงาน
รูปแบบการอบรม: บรรยาย ยกตัวอย่าง แลกเปลี่ยนประสบการณ์ Workshop
ระยะเวลา : 1 วัน เวลา 09.00-16.00น.
หมายเหตุ สำหรับ Inhouse Training เนื้อหาสามารถปรับได้ตามความเหมาะสมของกลุ่มผู้เข้าอบรม
********** ขอสงวนสิทธิ์ ห้ามคัดลอก ใดๆ ทั้งสิ้น**********
สอบถามรายละเอียดเพิ่มได้ที่ คุณเล็ก โทร. 063-846-6405
Line : chosenthebest / Facebook: https://www.facebook.com/chosenseminar/
E-mail: info@chosenthebest.com / www.chosenthebest.com