ภาษีมรดก & ภาษีการให้
รับแล้ว..กลับต้องจ่าย..หรือไม่ อย่างไร?
ตามที่ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก พ.ศ. 2558 ประกอบกับการแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเก็บภาษีจากการให้ทรัพย์สิน โดยมีผลใช้บังคับพร้อมกันเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 นั้น ส่งผลให้การรับมรดกและการให้ทรัพย์สินในบางกรณีอยู่ในบังคับที่จะต้องเสียภาษี
ให้กับรัฐ และโดยที่ภาษีการรับมรดกได้มีการประกาศใช้โดยออกเป็นพระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก พ.ศ. 2558 แยกต่างหากจากการจัดเก็บภาษีประเภทต่างๆ ตามประมวลรัษฎากร และได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ ตลอดจนกำหนดเวลา อายุความ อำนาจเจ้าพนักงาน วิธีการเสียภาษี การอุทธรณ์การประเมิน การผ่อนชำระ
บทกำหนดโทษไว้เป็นการเฉพาะ การทำความเข้าใจกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง อันจะส่งผลให้มีการวางแผนเพื่อเสียภาษี และการชำระภาษีเป็นอย่างอย่างถูกต้องและเหมาะสมต่อไป
- ทรัพย์สินที่ถือเป็นมรดก
2. “ภาษีการรับมรดก” ตามพระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก พ.ศ. 2558
- Tax Planning ภาษีการรับมรดก
3. “ภาษีการให้”
- “ผู้ให้” กับ “ผู้รับ” ใครคือผู้มีหน้าที่เสียภาษี
- ทรัพย์สินประเภทใดบ้างที่อยู่ในเกณฑ์ต้องเสียภาษภาษีจากการให้
- การให้โดยเสน่หาเนื่องพิธีหรือตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณี & การให้โดยหน้าที่ธรรมจรรยา
พิจารณาจากองค์ประกอบใด
- การให้ที่อยู่ในเกณฑ์ต้องเสียภาษี & การให้ที่ได้รับยกเว้นภาษี/ไม่ต้องเสียภาษี
- อัตราภาษีที่ต้องเสียจากการให้ & การยื่นแบบเสียภาษีจากการให้
- การให้ทรัพย์สินกรณีใดที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย
- Tax Planning ภาษีการให้
ตามที่ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก พ.ศ. 2558 ประกอบกับการแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเก็บภาษีจากการให้ทรัพย์สิน โดยมีผลใช้บังคับพร้อมกันเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 นั้น ส่งผลให้การรับมรดกและการให้ทรัพย์สินในบางกรณีอยู่ในบังคับที่จะต้องเสียภาษี
ให้กับรัฐ และโดยที่ภาษีการรับมรดกได้มีการประกาศใช้โดยออกเป็นพระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก พ.ศ. 2558 แยกต่างหากจากการจัดเก็บภาษีประเภทต่างๆ ตามประมวลรัษฎากร และได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ ตลอดจนกำหนดเวลา อายุความ อำนาจเจ้าพนักงาน วิธีการเสียภาษี การอุทธรณ์การประเมิน การผ่อนชำระ
บทกำหนดโทษไว้เป็นการเฉพาะ การทำความเข้าใจกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง อันจะส่งผลให้มีการวางแผนเพื่อเสียภาษี และการชำระภาษีเป็นอย่างอย่างถูกต้องและเหมาะสมต่อไป
********** ขอสงวนสิทธิ์ ห้ามคัดลอก ใดๆ ทั้งสิ้น**********
สอบถามรายละเอียดเพิ่มได้ที่ คุณเล็ก โทร. 063-846-6405
Line : chosenthebest / Facebook: https://www.facebook.com/chosenseminar/
E-mail: info@chosenthebest.com / www.chosenthebest.com