ติดต่อสอบถาม

หลักสูตร เทคนิคปรับใช้ “กฎหมายอื่น” เพื่อโต้แย้งประเด็นภาษีอากร

หลักสูตร เทคนิคปรับใช้ “กฎหมายอื่น” เพื่อโต้แย้งประเด็นภาษีอากร

หลักสูตร เทคนิคปรับใช้ “กฎหมายอื่น” เพื่อโต้แย้งประเด็นภาษีอากร

หลักการและเหตุผล

วิเคราะห์คำพิพากษาศาลฎีกา ศาลภาษีอากรกลาง ตลอดจนความเห็นแย้งของผู้พิพากษาองค์คณะพิจารณาคดี เมื่อผู้เสียภาษีปรับใช้ “กฎหมายอื่น” เช่น กฎหมายหนี้และการหักกลบลบหนี้ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหลักการตีความกฎหมายภาษีอากร กฎหมายขนส่ง ลาภมิควรได้ กฎหมายปกครอง พรบ.การธนาคารพาณิชย์ กฎหมายซื้อขาย ที่คู่ความหยิบยกมาเพื่อโต้แย้งประเด็นภาษีอากร และสามารถชนะคดีกรมสรรพากรได้ในท้ายที่สุด

รายละเอียดหลักสูตร

ü “กฎหมายอื่น” คืออะไร

ü การตีความกฎหมายภาษีอากร โดยปรับใช้ “กฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง”

ü กรณีศึกษาจริง กรมสรรพากรปรับใช้ “กฎหมายอาญา” (Criminal Law) โต้แย้งชนะคดีผู้เสียภาษีในชั้นศาลฎีกา

Ø บทสันนิษฐานให้กรรมการรับผิดอาญา กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

Ø มาตรา 90/5 แห่ง ป.รัษฎากรกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ

Ø ประมวลกฎหมายอาญา “ตัวการร่วม” กับ ทฤษฎีสมรู้ร่วมคิด

Ø ทำไมกรรมการต้องติดคุก จากการปรับใช้กฎหมายอาญาของสรรพากร

Ø ปรับใช้ “กฎหมายลาภมิควรได้” เพื่อขอคืนเงินภาษีกรมสรรพากร

• กฎหมายลาภมิควรได้ คืออะไร

• “กฎหมายลาภมิควรได้” กับ หลักกฎหมายตามประมวลรัษฎากร

• ความสัมพันธ์ “กฎหมายลาภมิควรได้” “การขอคืนภาษีสรรพากร” และ “อายุความ”

• กรณีศึกษาจริง เมื่อผู้เสียภาษี ประสบความสำเร็จ ปรับใช้“กฎหมายลาภมิควรได้” ขอคืนเงินภาษีกรมสรรพากร

Ø เมื่อที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกา ตัดสินให้ผู้เสียภาษี “ชนะคดี” จากการปรับใช้“หลักการตีความกฎหมาย”

• การตีความกฎหมายภาษีอากรต้องตีความตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดไว้โดยเฉพาะ

• ประเด็นพิพาท “การขอคืนอากรแสตมป์”

• การตีความของศาลฎีกา

Ø ปรับใช้ “กฎหมายขนส่ง” ต่อสู้คดีภาษีอากร

• อะไรคือ “การให้บริการขนส่ง” อะไรคือ “การขนส่ง”

• การนำเสนอ “กฎหมายขนส่ง”

• ผลกระทบภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT)

• ความแตกต่างในการตีความทางกฎหมาย กับ เหตุผ่อนผันงดเบี้ยปรับ

Ø ปรับใช้ “กฎหมายการหักกลบลบหนี้” โต้แย้งคดีภาษีอากร

• ความหมายของการ “จ่าย” ตามมาตรา 70 แห่งประมวลรัษฎากร

• คำว่า “จ่าย” กับ “หักกลบลบหนี้” เหมือนหรือต่างกันอย่างไร

• การหักกลบลบหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

• “การหักกลบลบหนี้” vs. “การปลดหนี้” กับหลักการทางภาษีอากร

• จ่ายเงินไปต่างประเทศที่ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย

Ø ปรับใช้ “หลักการตีความกฎหมายภาษีต้องตีความโดยเคร่งครัด”

• หลัก “กฎหมายภาษีต้องตีความโดยเคร่งครัด”

• เอกสารที่ไม่ได้ระบุไว้ในบัญชีอากรแสตมป์

• “สัญญาให้กู้ยืมเงินเพื่อซื้อหลักทรัพย์และบัญชีเดินสะพัด” ถือเป็นสัญญากู้ที่ต้องติดอากรแสตมป์หรือไม่

 

Ø ปรับใช้ “พรบ.ธนาคารพาณิชย์ฯ” โต้แย้งคดีภาษีอากร

• ความหมายของ “การประกอบกิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์”

• การไถ่ถอนหุ้นกู้ถือเป็นการประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะหรือไม่

Ø ปรับใช้ “หลักการตีความกฎหมายภาษีอากร” โต้แย้งคดีภาษีอากร แบบเหนือชั้น

• หลักการตีความกฎหมายภาษีอากร

• ประเด็นพิพาท “การหักภาษี ณ ที่จ่ายสำหรับเงินปันผล”

• มาตรา 65 ทวิ (10) แห่งประมวลรัษฎากร

• การตีความ “บริษัทจำกัดผู้จ่ายเงินปันผลไม่ได้ถือหุ้นในบริษัทผู้รับเงินปันผลไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม”

• “มติคณะกรรมการพิจารณาภาษีอากร” (กพอ.) เกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผล

• “หนังสือตอบข้อหารือ” กับการตีความกฎหมายภาษี

Ø ปรับใช้ “กฎหมายนิติกรรมสัญญา” (Contract Law) โต้แย้งคดีภาษีอากร

• หลักความศักดิ์สิทธิแห่งเจตนา

• การวางแผนภาษีในการทำสัญญา

• แยกสัญญาเพื่อประโยชน์ด้านภาษี

• เหตุผลที่ศาลฎีกาตัดสินให้ผู้เสียภาษีชนะคดี

• ต่อยอดความคิด...พิชิตกรมสรรพากร

Ø ปรับใช้ “กฎหมายซื้อขาย” (Sales Law) โต้แย้งคดีภาษีอากร

 

• ค่าฤชาธรรมเนียมในการสัญญาซื้อขาย

• หลักความศักดิ์สิทธิแห่งเจตนา

• กฎหมายซื้อขาย กับข้อพิพาทภาษีในคดี

Ø ปรับใช้ “กฎหมายปกครองเกี่ยวกับการขอให้พิจารณาใหม่”โต้แย้งคดีภาษีอากร

• การขอให้พิจารณาใหม่ตามกฎหมายปกครอง กับการคุ้มครองสิทธิผู้เสียภาษี (Taxpayers’ Right Protection)

• กรณีศึกษาจริงเกี่ยวกับ “กฎหมายปกครองเกี่ยวกับ การขอให้พิจารณาคดีใหม่” กับ “การขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม”

• ความสัมพันธ์ระหว่าง “การขอให้พิจารณาใหม่ตามกฎหมายปกครอง” กับ “การอุทธรณ์คดีภาษีอากร”

Ø ปรับใช้ “ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง” โต้แย้งคดีภาษีอากร

• การจ่ายเงินค่าคอมมิชชั่นไปต่างประเทศ กับภาษีหัก ณ ที่จ่าย

• หนังสือรับรองการมีถิ่นที่อยู่” (Certificate of Residence) กับการใช้สิทธิภายใต้อนุสัญญาภาษีซ้อน

• การนำเสนอ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เกี่ยวกับ“เอกสารมหาชน”

• หนังสือรับรองบริษัท กระทรวงพาณิชย์

หมายเหตุ เนื้อหาสามารถปรับได้ตามความเหมาะสมของกลุ่มผู้เข้าอบรม

********** ขอสงวนสิทธิ์ ห้ามคัดลอก ใดๆ ทั้งสิ้น**********

สอบถามรายละเอียดเพิ่มได้ที่ คุณเล็ก โทร. 063-846-6405

Line : chosenthebest / Facebook: https://www.facebook.com/chosenseminar/

E-mail: info@chosenthebest.com / www.chosenthebest.com

อ.ศุภชัย บำรุงศรี

Application Form /ใบสมัคร

In-House Training (ภายในองค์กร)

ข้อมูลบริษัท

ฟอร์มลงทะเบียน